สมเด็จพระพันวษาเรียกให้ขุนช้างและขุนแผนไปช่วยราชการ เมื่อขุนแผนจากลาวทอง นางก็ป่วยหนัก พอได้ยินข่าวเมียจึงรีบกลับบ้านและฝากเวรไว้กับขุนช้างโดยที่ไม่รู้เลยว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับตน
หลังจากเปลี่ยนชื่อเป็นวันทอง อาการป่วยไข้ก็ดีขึ้นจนปกติ ในระหว่างนั้น ขุนช้างพยายามให้เถ้าแก่มาสู่ขอนางวันทองอยู่เรื่อยๆ โดยบอกว่าพลายแก้วถูกข้าศึกฆ่าตายแล้ว นางวันทองไม่เชื่อและด่ากลับไปทุกครั้ง แต่สุดท้ายนางศรีประจันก็ไปรับปากขุนช้างเรื่องแต่งงานของลูกสาวจนได้
แทพย์แนะนำให้ผู้ป่วยวัณโรค ต้องรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ติดตามในรายการ โรงหมอ กับ พญ.วิพรรณ สังคหะพงศ์ : ผู้อำนวยการสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
อันตรายจากภาวะความดันโลหิตต่ำและสูง ต้องอาศัยการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะยาปรับระดับความดัน มีส่วนสำคัญในการรักษาผู้ป่วยเป็นอย่างยิ่ง ติดตามในรายการ โรงหมอ กับ นพ.พูลชัย จิตอนันตวิทยา : นวัตกรต้านออฟฟิศซินโดรมและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
องค์การอนามัยโลกประกาศให้คนติดเกมส์ จะต้องเข้ารับการรักษาด้านจิตแพทย์ ทำให้บริษัท นักพัฒนา และผู้เชี่ยวชาญด้านเกมส์ ต่างออกมาคัดค้านกับคำประกาศ โดยบอกให้ไปดูแลและแก้ไขปัญหาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะดีกว่าติดตามในรายการ "หน้าต่างโลก" โดย เชาว์วรรธณ์ พยัฆพันธ์ และ เสาวลักษณ์ จักรวิวัฒนากุล
รายการ "โรงหมอ" เสนอปัญหาสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาการทานหรือกลืนอาหารลำบากทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน "เจลลี่พระราชทาน" จึงเป็นทางออกสำหรับผู้ที่มีปัญหานี้ กับ คุณกนกนันทร์ วิทยาเกษมสันต์ : นักวิาการโภชนาการ ฝ่ายโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ร่วมหาคำตอบต่อกรณีที่เกิดขึ้นที่ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา เป็นสัญญาณเตือนภัยหรือแค่ภาพสะท้อนว่าสังคมกำลังป่วย ในรายการคิดบนรอยต่อ ตอน อเมริกากับภัยก่อการร้าย
ปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานเป็นเวลานาน ๆ โดยไม่ได้ขยับร่างกายไปไหนเลย สะสมนานเข้ากลายเป็นภาวะ "ออฟฟิศซินโดรม" ด้วยจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นหลายเท่าตัวในหลายปีที่ผ่านมา และด้วยจำนวนผู้ให้ความรู้และผู้เชี่ยวชาญมีจำนวนน้อย จึงต้องสร้างทีมเพื่อให้ความรู้และสอนการบำบัดอาการออฟฟิศซินโดรม ที่ริเริ่มโดย นพ.พูลชัย จิตอนันตวิทยา : นวัตกรต้านออฟฟิศซินโดรม
น้ำท่วมกาฬสินธุ์ ครบ 1 เดือนเริ่มลดลง ขณะที่พื้นที่ราบลุ่ม 5 อำเภอ ยังคงน้ำท่วมขัง ประชาชนเริ่มเจ็บป่วยเป็นโรคเครียด ขณะที่เขื่อนลำปาวยืนยันยังไม่หยุดการระบายน้ำเพื่อโครงสร้างตัวเขื่อน
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต จนนำไปสู่อาการป่วยทางด้านจิตเวช จำเป็นต้องได้รับการเยียวยา ช่วยเหลือ และเข้าใจต่อสิ่งที่ผู้ป่วยเป็น ศูนย์จิตธรรม เป็นสถานที่ใช้บำบัดผู้ป่วยด้านจิตเวชที่มีประสิทธิภาพแห่งหนึ่งของไทยติดตามเรื่องราวของศูนย์จิตธรรม กับ นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ : จิตแพทย์ โรงพยาบาลศรีธัญญา
เกาต์ เป็นภาวะความเจ็บป่วยที่มักสังเกตได้จากอาการไขข้ออักเสบกำเริบเฉียบพลันซ้ำ ๆมีอาการแดง ตึง แสบร้อน บวมที่ข้อต่อ ข้อต่อกระดูกฝ่าเท้า-นิ้วเท้าที่โคนนิ้วหัวแม่เท้ามักได้รับผลกระทบบ่อยที่สุด แต่เชื่อหรือไม่ว่า ต้นเหตุการเกิดเกาต์ มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของเราด้วยติดตามเรื่องนี้กับ นายแพทย์ ธเนศ ปีติธรรมภรณ์ : สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ผู้ต้องขังในเรือนจำ เมื่อใกล้จะได้รับอิสรภาพ จะต้องตรวจสุขภาพก่อนออกสู่สังคมภายนอก เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตในสังคมแบบสุขภาพดีติดตามการจัดกิจกรรม คืนคนดี สุขภาพดี ปลอดวัณโรค สู่สังคม โดย แพทย์หญิง จริยา แสงสัจจา // ผู้ช่วยอธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
อาการบ้านหมุน (vertigo) เป็นอาการเวียนศีรษะประเภทหนึ่งที่มักเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวหรือสิ่งของที่มองเห็นหมุนไป ทำให้ผู้ป่วยเสียสมดุลการทรงตัวและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ติดตามประเด็น "โรคบ้านหมุน" โดย แพทย์หญิง นวรัตน์ อภิรักษ์กิตติกุล // ภาควิชา โสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ไม่เพียงแต่ผู้หญิงเท่านั้นที่จะเสพติดการช้อปปิ้ง ผู้ชายก็สามารถเสพติดได้เช่นเดียวกัน
หน่วยงานให้คำปรึกษาปัญหาและทางออก รวมทั้งเป็นศูนย์ให้ความรู้ด้านการดูแลเด็กเล็ก จะทำงานอย่างไรให้คุณภาพชีวิตเด็กหนึ่งคนมีประสิทธิภาพสูงสุด แม้ว่าเด็กคนนั้นจะป่วยหรือพิการติดตามฟังรายการ "โรงหมอ" โดย สุรีย์พร วงศ์สถิตพร และ นายแพทย์วิบูลย์ กาญจนพัฒนกุล / หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
สาว ๆ คนไหนที่ไม่ชอบทานถั่วงอกอาจจะต้องเปลี่ยนใจ เพราะช่วยลดน้ำหนักได้
ด้วยสภาพสังคมเร่งรีบของคนกรุง ทำให้แพทย์พบอาการกรดไหลย้อนได้มาก
พิกัดเพศ ตอน แค่รสนิยมต่าง หรือ “โรคจิต” เข้าใจพฤติกรรมทางเพศ “แปลกๆ” ชอบโชว์,ถูไถ,สะสมชุดชั้นใน ฯลฯ แบบไหนปกติ แบบไหนป่วย และสังคมจะรับมือเรื่องนี้อย่างไร ติดตามได้ในคลิปเสียง